โรงพยาบาลรามคำแหง

เครียดมากไป โรคหัวใจอาจถามหา

เครียดมากไป โรคหัวใจอาจถามหา

คุณกำลังเครียดอยู่หรือเปล่า หยุดอ่านสักนิดเพื่อชีวิตที่ยืนยาว ความเครียดเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สามารถทำให้เกิดโรคหัวใจขึ้นได้ โดยเฉพาะกับกลุ่มคนทำงานในปัจจุบันที่ต้องเผชิญกับเรื่องของสภาพสังคม เศรษฐกิจ ครอบครัว ซึ่งส่งผลให้เกิดความเครียดทั้งนั้นครับ ผลการวิจัยโดยศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เผยว่าผู้ที่เผชิญกับความเครียดเป็นประจำมีโอกาสเป็นโรคหัวใจสูงกว่าคนที่มีความเครียดน้อยถึง 27 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว การจัดการกับความเครียดจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็น ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ วิธีง่ายๆที่เราสามารถทำได้ อย่างเช่น การหาเวลาไปพักผ่อน ไปท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ พูดคุยกับเพื่อน คิดถึงเรื่องที่ทำให้เรามีความสุข  การใช้เวลาอยู่กับครอบครัว สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้ความเครียดของเราลดน้อยลงไปได้ครับ อย่าลืมนะครับว่า สุขภาพใจก็มีส่วนสำคัญช่วยให้สุขภาพกายของเราดีได้เหมือนกัน พยายามอย่าเครียดกันนะครับทุกคน แล้วร่างกายที่แข็งแรงจะอยู่กับเราไปอีกนานแสนนาน

แสกนก่อนป้องกัน โรคลมชัก (แฝง)

แสกนก่อนป้องกัน โรคลมชัก (แฝง)

โรคลมชักไม่ได้มีแค่อาการชักเกร็ง กระตุก ตามส่วนต่างๆ ของร่างกายเท่านั้น แต่คนที่เป็นโรคลมชักยังมีความหลากหลายทางอาการ เช่น เดินเซ หลงๆ ลืมๆ หรือเหม่อลอย ซึ่งเป็นอาการที่คนอื่นสังเกตเห็น แต่คนไข้จะเหมื

อาการเสี่ยง Stroke โรคหลอดเลือดสมอง

อาการเสี่ยง Stroke โรคหลอดเลือดสมอง

โรคหลอดเลือดสมอง คือภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง เนื่องจากหลอดเลือดมีการตีบ อุดตัน หรือแตก ทำให้สมองได้รับความเสียหาย เมื่อสมองขาดเลือดจะทำให้สมองไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งอาการแสดงต่างๆ จะมากหรือน้

โรคหลอดเลือดสมองป้องกันได้ด้วยการตรวจอัลตร้าซาวด์

โรคหลอดเลือดสมองป้องกันได้ด้วยการตรวจอัลตร้าซาวด์

การตรวจเช็คความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยการตรวจ “Carotid Duplex Ultrasounds” เป็นการตรวจหลอดเลือดใหญ่ที่คอ ที่ไปเลี้ยงสมองส่วนหน้าและหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองส่วนหลังด้วยคลื่นเสียงความถี่สู

ปวดหัวแบบไหน? ที่ปล่อยไว้ไม่ดีแน่

ปวดหัวแบบไหน? ที่ปล่อยไว้ไม่ดีแน่

“ปวดหัว” เป็นหนึ่งในอาการของโรคสมองหลายโรค เช่น เนื้องอกในสมอง หลอดเลือดสมองโป่งพอง เลือดออกในเยื่อหุ้มสมอง เลือดคั่งในสมอง หรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคเหล่านี้เป็นโรคทางสมองที่สามารถตรวจพบได้ด้วย M

ฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและปอดในผู้ป่วยโรคหัวใจดีอย่างไร?

ฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและปอดในผู้ป่วยโรคหัวใจดีอย่างไร?

การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและปอดในผู้ป่วยโรคหัวใจ หรือผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ จะช่วยให้ผู้ป่วบกลับมามีสุขภาพที่แข็งแรง และทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ ประโยชน์ที่ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับ คือ ✔️ ฟื้นตัวได้เร็วขึ้น ✔️ การควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น ✔️ ระดับไขมันในเส้นเลือดลดลง ✔️ ลดปัจจัยเสี่ยงที่จะกลับมาเป็นโรคหัวใจอีก ✔️ ลดอาการเครียดและภาวะซึมเศร้า ✔️ สุขภาพแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและปอด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การฟื้นฟูสมรรถภาพโดยการออกกำลังกาย และ การให้คำแนะนำและเรียนรู้เรื่องโรคหัวใจของคุณ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ จะเป็นผู้ประเมินและวางแผนโปรแกรมการรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน ข้อมูลเพิ่มเติม https://bit.ly/2ZzOBOm

เจ็บหน้าอกแบบไหน? ใช่สัญญาณเตือนหลอดเลือดหัวใจตีบ

เจ็บหน้าอกแบบไหน? ใช่สัญญาณเตือนหลอดเลือดหัวใจตีบ

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบในระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ จนกระทั่งหลอดเลือดเริ่มตีบมากขึ้น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง จึงทำให้มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก รู้สึกเหมือนถูกบีบรัดแน่นบริเวณตรงกลางหน้าอก อาจร้าว

จะรู้ได้อย่างไร? ว่าเป็นโรคหัวใจหรือไม่

จะรู้ได้อย่างไร? ว่าเป็นโรคหัวใจหรือไม่

จะรู้ได้อย่างไร? ว่าเป็นโรคหัวใจหรือไม่ ✔️ ประวัติสุขภาพและการตรวจร่างกาย ✔️ การตรวจคลื่นไฟฟ้า EKG ✔️ การตรวจด้วยคลื่นสะท้อนความถี่สูง (Echocardiogram) เพื่อจับภาพเคลื่อนไหวของหัวใจ การทำงานและโครงสร้างของหัวใจ ✔️ การสวนหัวใจ เป็นการตรวจเอกซเรย์โดยสอดสายยางขนาดเล็กเข้าทางหลอดเลือดที่ขาหนีบ และสอดไปตามเส้นเลือดที่เข้าสู่หัวใจ สารมีสีชนิดพิเศษจะถูกฉีดผ่านสายยางนี้ เส้นเลือดบริเวณที่ตีบหรืออุดตันก็จะตรวจพบได้จากภาพเอกซเรย์ ✔️ การตรวจหาระดับเอนไซม์ในเลือด (Blood enzyme tests และCardiac enzyme) ✔️ การทดสอบสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise StressTest) เป็นการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจในขณะที่ออกกำลังกาย โดยการเดินบนสายพาน หรือการปั่นจักรยานอยู่กับที่ ศูนย์หัวใจ 24 ชั่วโมง โรงพยาบาลรามคำแหง https://bit.ly/341sVtE

เช็คจังหวะหัวใจ เท่าไหร่? ถึงปกติ

เช็คจังหวะหัวใจ เท่าไหร่? ถึงปกติ

❤️  เช็คจังหวะหัวใจ เท่าไหร่? ถึงปกติ ✔️ ในขณะนั่งพักหัวใจจะเต้นประมาณ 60-80 ครั้งต่อนาที ✔️ ในขณะเดินหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเป็นประมาณ 80-100 ครั้งต่อนาที ✔️ ในขณะวิ่งหัวใจจะเต้นมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที หัวใจที่เต้นผิดปกติ จะมีอัตราการเต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายในขณะนั้น ซึ่งอาจมีจังหวะการเต้นที่ผิดปกติร่วมด้วย หัวใจที่เต้นผิดปกติมีอาการได้หลายอย่างตั้งแต่ไม่มีอาการเลย หรือมีอาการใจสั่น เหนื่อยง่าย หน้ามืด เป็นลม หมดสติ รุนแรงที่สุดอาจเสียชีวิตเฉียบพลันได้ วิธีที่ดีที่สุดที่จะบอกได้แน่นอนว่าอาการต่างๆ ที่น่าสงสัยนั้นเป็นอาการของโรคหัวใจหรือเปล่า ก็คือการไปพบแพทย์เพื่อตรวจเช็คให้แน่ใจครับ… “หัวใจเต้นผิดปกติ” ข้อมูลเพิ่มเติม https://bit.ly/2FNr0O8

เทคนิคบรรเทาอาการปวด หลังออกกำลังกาย

เทคนิคบรรเทาอาการปวด หลังออกกำลังกาย

อาการปวดกล้ามเนื้อหลังจากหยุดออกกำลังกายไปแล้วหลายชั่วโมง หรือเรียกว่า DOMS (Delayed onset muscle soreness) เกิดจากการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ โดยการเกร็งของกล้ามเนื้ออาจทำให้เกิดการฉีกขาดของเซลล์เนื้อเย

1 4 5 6 7 8 46